Page 36 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 36

32


                    5.  สีที่ใช้เขียนภาพ ชางไทยใช้สแดง เหลือง เขียว คราม ขาว ดา เป็นหลัก ผสมกันเกิดเป็นสต่างๆ ได ้
                                                                                                ี

                                               ี
                                       ่
                                                                                             ี
                                                                                                ้
                           ี
               มากมาย น าสผสมกับน้ าผสมกาวกระถิน ผสมไว้ในภาชนะเล็กๆ เช่น โกร่งหรือกะลา เมื่อใช้ไปสแหง ก็เติมน้ า
               ใช้สากบดฝนให้กลับเป็นน้ าสี น ามาใช้งานได้อีก





















               ภาพลายไทยที่น ามาใช้เป็นภาพต้นแบบส าหรับงานจิตรกรรม : ลายกนก  (ภาพด้านซ้ายได้จากhttps://www.see-
               sketch.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B
               8%81-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%  B1%E0%B8%A7-pid186)  และลายพุ่มข้าวบิณฑ์
               โดย อาจารย์ไพบูลย์  พยัพเมฆ)


                    5.  พู่กันที่ช่างใช้ระบายสีนั้นมีหลายขนาด ดังนี้
                                   ั
                                                                                     ี่
                       5.1  หากใช้ตดเส้นจะใช้พู่กันขนาดเล็กทเรียกว่า “พู่กันหนวดหนู” ทั้งๆ ทพู่กันชนิดนี้ท าจากขนหูวัว
                                                         ี่
                        5.2  หากใช้ระบายพื้นที่ขนาดใหญ่จะใช้แปรงท าจากรากต้นล าเจียกหรือเปลือกต้นกระดังงา  โดย
                        น ามาตัดเป็นท่อน ให้พอเหมาะกับความต้องการ น าไปแช่น้ าให้อ่อนนุ่ม เพื่อจะได้ทุบปลายข้างหนึ่ง
                        ให้แตกเป็นฝอย
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41