Page 39 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 39
35
ั
่
รูปแบบการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ที่ผ่านตัวอย่างต่างชนิดกันจะมีความแตกตางกัน โดยจะขึ้นกับลกษณะ
ั
้
้
ั
้
การจัดเรียงตัวของของอนุภาคในตัวอย่าง โดยพบว่าสาหรับเสนใยฝาย ลกษณะการจดเรียงตวของเสนใยมีผล
ั
ั
้
ี่
่
ื่
ื่
่
ั
่
ี
ตอรูปแบบของรังสเอ็กซ์ทผานตวอย่างเสนใยเหลานี้ ซึ่งสามารถน าไปเชอมโยงกับระดบการเสอมสภาพของ
เส้นใย (ภาพที่ 33)
เส้นใยข่อยโบราณ เส้นใยข่อยใหม่
ภาพที่ 33 รูปแบบการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ของเส้นใยข่อยโบราณและเส้นใยข่อยที่เตรียมขึ้นใหม่
6.3 Scanning Electron Microscopy-Energy Dispersive X-ray (SEM-EDX)
เทคนิค Scanning Electron Microscopy และ Energy Dispersive X-ray มีความเกี่ยวข้องกัน และมัก
เขียนชื่อเทคนิคต่อเนื่องกันเป็น SEM/EDX หรือ SEM-EDX ส าหรับ Scanning Electron Microscope (เป็น
้
กล้องที่มีก าลังขยายสูงมากถึงสองแสนเท่า ใชดูรายละเอียดของอนุภาคหรือเส้นใยที่มีขนาดเล็กมาก) มัก
เชื่อมต่อกับส่วนที่วิเคราะห์ Energy Dispersive X-ray (ภาพที่ 34)
ลักษณะเครื่อง
SEM-EDX
ภาพที่ 34 เครื่อง SEM-EDX
ส าหรับเทคนิค Scanning Electron Microscopy จะมีการระดมยิงผิวของวัสดุด้วยอิเล็กตรอน
ี่
อิเล็กตรอนเหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทส าคัญกับอิเล็กตรอนภายในวัสดุดังนี้
1. อิเล็กตรอนวงนอก (outer shell electron) ที่ผิวของวัสดุหลุด จะทาให้ได้ข้อมูลเป็นภาพ (SEM
image) ของพื้นผิววัสดุ ดังตัวอย่างภาพ SEM ในภาพที่ 35 แสดงลักษณะเส้นใยผ้าไหมที่ยังไม่เกิด
การเสื่อมสภาพ และไหมที่เกิดการเสื่อมสภาพ