Page 33 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 33
29
้
ี่
้
ั้
ุ
ี่
ปูนฉาบชนนอกสด หรือทเรียกว่า ปูนตา จะเป็นปูนทผสมดวยกระดาษและกาว โดยการใชงานจะ
ค่อยฉาบปูนที่ละพื้นที่ แล้วขัดด้วยเกรียงเหล็กขนาดเลก กดให้ปูนแนบกับผนังปูนฉาบชนนอกให้แน่น แลวขัด
็
ั้
้
ผิวให้มันจนกระทั่งเสร็จทั่วผนัง ความหนาของผิวปูนต าเพียง 2-3 มิลลิเมตรเท่านั้น
5.2 ปูนหมักและกระบวนการหมักปูน
ื
กระบวนการหมักปูน คอ การน าปูนขาว (CaO) ทไดจากการเผาหินปูน (CaCO ) มาหมักในน้ าสะอาด
้
ี่
3
อย่างน้อยเป็นระยะเวลา 2 เดือน โดยระหว่างการหมักปูนนั้นต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้ าอย่างสม่ าเสมอ
ื
ขั้นตอนแรกในการหมักปูนคอการน าหินปูน (CaCO ) มาเผาให้เป็นปูนขาว (CaO) ในการหมักปูนนั้น
3
่
้
่
่
ี่
ี่
้
้
จาเป็นจะตองใสน้ าไว้ในภาชนะหรือบ่อหมักก่อน แลวคอยๆใสปูนทบดแลวลงไปในน้ าทเตรียมไว้ CaO จะ
เกิดปฏิกิริยา Hydration ดังสมการ :
CaO(s) + H O Ca(OH) (s)
2
2
ั
ในระหว่างเกิดปฏิกิริยาให้กวนปูนจนกว่าปฏิกิริยาจะหยุด ท าการหมักปูนทิ้งไว้อย่างน้อย ๒ สปดาห์ แตเพื่อให้
่
ได้ปูนคุณภาพดีควรหมักทิ้งไว้อย่างน้อย 2 เดือนขึ้นไป ในระหว่างการหมักควรมีการถ่ายน้ าปูนอย่างสม่ าเสมอ
การกวนปูนจะชวยลดอุณหภูมิทจะเกิดขึ้นระหว่างการเกิดปฏิกิริยา และชวยเพิ่มการกระจายตวของอนุภาค
่
่
ี่
ั
ปูนขาวด้วย
5.3 จิตรกรรมฝาผนัง
จิตรกรรมฝาผนังบนพื้นปูน แบ่งเป็นสามชั้นดังนี้
1. ชั้นปูนต า เตรียมจากปูนหมัก ผสมเส้นใยกระดาษ กาวหนังสัตว์ และกาวน้ าอ้อย
2. ชั้นรองพื้น ส่วนชั้นรองพื้นของไทยโบราณนิยมใช้กาวเม็ดมะขาม ผสมกับดินสอพองเป็นหลัก
่
3. ชนส น าสโบราณทไดจากดน หิน แร่ ยางไม้หรือเลอดของสตว์มาผสมกับกาวจากพืช เชน กาว
ิ
้
ี
ี
ั
ี่
ื
ั้
กระถิน กาวธนนไชย กาวมะขวิด กาวมะตูม และกาวสนฉัตร เป็นต้น
ส าหรับสีที่น ามาใช้ในงานจิตรกรรมนั้นมีที่มาหลากหลายดังรายละเอียดต่อไปนี้
้
สีด า: ไดจากเขม่า เช่น เขม่าน้ ามันยาง (เป็นผงละเอียด) และเขม่าจากการเผากระดูกสัตว์ เช่น งาช้าง
สีแดง: มีแหล่งที่มาหลากหลายดังนี้
1. ไดจากดนแดง (red ochre) มีสแดงคลาและเนื้อสหยาบ เป็นดนทมีสวนผสมของแร่ฮีมาไทต์
้
ี
้
ิ
ี่
ี
่
ิ
ี
ิ
ี
ี
ิ
ิ
ี
(hematite, Fe O ) ซึ่งทาให้ดนมีสแดง สาหรับสดนแดงจากอินเดยเรียกดนแดงเทศ ดนแดงจากจนเรียกว่า
ิ
2 3
ตัวเปี้ย
2. ไดจากเมล็ดของต้นชาดหรคุณ สารให้สีมีชื่อทางเคมีว่า “iron pyrites” (FeS )
้
2
3. จากแร่ cinnabar หรือชื่อทางเคมีว่า mercury (II) sulfide (HgS)
4. สีเสน หรือตะกั่วแดง (Pb O ) สีแดงอมส้มหรืออมเหลืองคล้ายลูกพิกุล
3 4
สีขาว: มีแหล่งที่มาหลากหลายดังนี้
ี่
ี
ั
1. ปูนขาว (CaCO ) ปูนขาวทเรารู้จกดคอ ดนสอพอง โดยทวไปนิยมน าดนสอพองมาทาเป็นสวนของ
่
ิ
ิ
ั่
ื
3
ิ
้
รองพื้นในงานจตรกรรม เตรียมจากดนสอพองทน ามาแชน้ าแลวกรองจนไดเนื้อปูนทสะอาดและเนื้อละเอียด
่
้
ิ
ี่
ี่
น ามาผสมกับกาวมะขาม
ี่
ี
้
ุ
2. ดินขาว (kaolin, (Al Si O (OH) )) เผาให้สกและบดให้ละเอียดกรองเอากากออก จะไดเนื้อสทขาว
4
2 2 5
ละเอียด