Page 32 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 32
28
5. ปูนโบราณและจิตรกรรมฝาผนัง
ั
ี่
ุ
ปูนหมัก (Lime Putty) เป็นวัสดทมีบทบาทสาคญในสถาปัตยกรรมไทยโบราณ ใชในการก่อสร้าง
้
่
ื่
ุ
้
โบราณสถานตางๆ โดยน าปูนหมักไปผสมกับทราย ใชเป็นวัสดเชอมประสาน เรียกว่า ปูนสอ (Mortar) และ
เมื่อน าปูนหมักไปผสมกับทรายและเส้นใย เป็นวัสดุฉาบผิวเรียกว่า ปูนฉาบ (Plaster) นอกจากนี้ยังมีการน าปูน
่
หมักไปผสมกับทราย เสนใย และกาว น าไปปั้นเป็นลวดลายตางๆ ใชในการประดบตกแตงสถาปัตยกรรม
ั
้
่
้
เรียกว่า ปูนปั้น (Stucco)
ิ
ี่
ุ
ในปัจจบันพบว่ามีการศกษาคณสมบัตของปูนทจะน าไปใชในการอนุรักษ์นั้นน้อยมากและ ยังไม่มี
ึ
ุ
้
ี่
ี
์
มาตรฐานทแน่นอน บางกรณพบว่ามีการผสมปูนซีเมนตปอร์ตแลนด หรือซีเมนตขาวเข้าไปในเนื้อปูนใน
์
์
่
่
ิ่
ปริมาณทแตกตางกันเพื่อให้ปูนแข็งตวไดเร็วขึ้น ซึ่งสงเหลานี้ก่อให้เกิดผลเสยตอทงงานสถาปัตยกรรมและ
่
ั
ี่
ี
้
ั้
ี่
ี่
ึ
ประตมากรรมโบราณ ดงนั้นในงานศกษาครั้งนี้จงมุ่งเน้นให้ไดปูนทมีคณสมบัตทเหมาะสมตอการดาเนินงาน
ึ
ิ
ุ
่
ิ
้
ั
อนุรักษ์
5.1 ชนิดของปูนโบราณ
้
่
ปูนโบราณนั้นมีดวยกันหลากหลายชนิด ซึ่งปูนโดยสวนใหญ่ทาหน้าทเป็นวัสดเชอมประสาน ใชสาหรับ
ี่
ุ
้
ื่
้
่
ก่อสร้างอาคารโบราณสถานหรือประติมากรรมประเภทต่างๆ นอกจากนี้ปูนโบราณยังสามารถใชในการตกแตง
่
ั้
ั
ผิวภายนอกแทนการใช้สีในปัจจุบัน โดยสามารถแบงประเภทของปูนโบราณตามลกษณะการใชงานไดทงหมด
้
้
3 ประเภทดังต่อไปนี้
1.1 ปูนปั้น (Stucco)
ปูนปั้น เป็นวัตถุดิบที่ได้จากการน าปูนหมัก ผสมกับทราย เส้นใยกระดาษและน้ ากาวประสาน โดยมี
ั
อัตราส่วนโดยน้ าหนักของปูนขาว (CaO) 43% ทราย 22% เส้นใยกระดาษ 5 % กาวหรือตวประสาน 30 %
ผสมวัสดุต่างๆให้เข้ากันโดยการตาหรือโขลก บางครั้งชางจงเรียกปูนชนิดนี้ว่า “ปูนตา” โดยปูนปั้นจะแข็งตว
ึ
่
ั
เมื่อท าปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ เกิดเป็น CaCO
3
1.2 ปูนสอ (Mortar)
้
ี่
ื่
ปูนสอหรือปูนก่อ คือปูนขาวที่ผสมกับทราย ใชสาหรับเชอมประสานอิฐหรือหิน ทใชในการก่อสร้าง
้
ั
ี่
่
้
ผนังหรือพื้น ในบางทจะมีการผสมกาวหนังสตว์หรือหรือน้ าอ้อยไปดวย เพื่อชวยเพิ่มความแข็งแรงของการ
เชื่อมประสานนั้น
1.3 ปูนฉาบ (Plaster)
ปูนฉาบที่ใช้ในการอนุรักษ์โบราณสถานเกิดจากส่วนผสมของปูนหมักและทรายตามอัตราสวนของแต ่
่
ละชั้น อัตราส่วนผสมระหว่างปูนหมักกับทรายนั้น สามารถแบ่งออกได้ 2 อัตราส่วน ส่วนที่หนึ่งใช้ส่วนผสม 2:5
ิ
ื
ุ
้
่
โดยปริมาตร เพื่อเป็นปูนฉาบ ส่วนปูนส่วนที่สอง สาหรับใชฉาบผวนอกสดนั้นตองเพิ่มสวนผสมคอกระดาษสา
้
หรือกระดาษฟาง ต าให้เข้ากัน
้
ปูนฉาบชั้นใน มีการผสมกาวหนังสัตว์ และบางครั้งอาจจะผสมดวยหัวน้ าอ้อย การฉาบจะฉาบอย่าง
ี่
น้อย 3 ชั้น ปูนชั้นในและชั้นกลางใช้ส่วนผสมปูนต่อทราย คือ 2 : 5 โดยปริมาตร ส่วนชั้นนอกใชสวนผสมท 1 :
่
้
่
ั้
ิ
ิ
3 โดยปริมาตร ความหนาของปูนฉาบแตละชนอยู่ระหว่าง 9-20 มิลลเมตร มักจะมีการขัดให้พื้นผวปูนหยาบ
เพื่อช่วยเรื่องการเกาะตัว ปูนฉาบจะหดตัวค่อนข้างมาก เพราะฉะนั้นมักจะต้องใช้น้ าฉีดพรมเล็กน้อย เพื่อไม่ให้
ปูนฉาบแห้งเร็วเกินไป