Page 37 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 37

33


               6.  เทคนิคทางวิทยาศาสตร์ที่น ามาใช้ในงานอนุรักษ์ศิลปกรรม

               6.1  IR spectroscopy (IR)

                                                                                           ี่
                                                                                          ุ
                    เทคนิคนี้จะเป็นการฉายแสงอินฟราเรดจากแหล่งก าเนิดแสง  (source)  ผ่านวัสดทต้องการวิเคราะห์
                              ุ
               (sample)  วัสดจะดูดกลืนแสงอินฟราเรดบางส่วน  แสงที่ไม่ถูกดูดกลืนจะผ่านออกจากวัสดเขาตัวตรวจวัด
                                                                                               ้
                                                                                              ุ
               (detector) แล้วแปรผลออกมาเป็นสเปกตรัมเรียก IR spectrum หรือ สเปกตรัมการดูดกลืนแสงอินฟราเรด
               ความถี่หรือเลขคลื่น  (wave  number)  ทวัสดจะดูดกลืนจะขึ้นอยู่กับชนิดของพันธะที่ปรากฏอยู่ในวัสดุนั้นๆ
                                                    ี่
                                                       ุ
               ส าหรับพันธะที่แข็งแรงกว่าจะดูดกลืนแสงอินฟราเรดทมีความถี่หรือเลขคลื่นมากกว่า  ซึ่งจะท าให้วัสดุต่างชนิด
                                                            ี่
               กัน มีรูปแบบการดูดกลืนแสงแตกต่างกัน ดังตัวอย่างรูปแบบหรือสเปกตรัมการดูดกลืนแสงของเส้นใยฝ้ายและ
               เส้นไหม ในภาพที่ 28

















                                     (ก)                                            (ข)

               ภาพที่ 28  สเปกตรัมการดูดกลืนแสงอินฟราเรดของ (ก) เส้นใยฝ้าย และ (ข) เส้นไหม


               นอกจากนี้วัสดุชนิดเดียวกันแต่มีระดับการเสื่อมสภาพแตกต่างกันจะท าให้มีสเปกตรัมการดูดกลืนแสงแตกต่าง
               กัน ดังสเปกตรัมภาพที่ 29 หลังจากได้สเปกตรัมแล้วเราต้องน าข้อมูลมาวิเคราะห์ ซึ่งขั้นตอนนี้อาจต้องปรึกษา
               ผู้เชี่ยวชาญ






















               ภาพที่ 29  สเปกตรัมการดูดกลืนแสงอินฟราเรดของเส้นใยไหมใหม่  (S-White)  และไหมโบราณ  (S-
               Ancient) (Chuapanit & Buntem, 2017)
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42