Page 41 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 41
37
ุ
ผลึก (crystallization) อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนเฟส การสลายตัวของวัสด (decomposition) ในการ
วิเคราะห์ตัวอย่าง ตัวอย่างจะถูกวางบนจานขนาดเล็ก ซึ่งเชื่อมต่อกับเครื่องชั่งละเอียดที่มีความไวต่อการ
้
เปลี่ยนแปลงสูง โดยที่ทั้งหมดจะอยู่ในเตาที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและบรรยากาศได บรรยากาศภายในอาจ
เป็นแก๊สเฉื่อย เช่น ไนโตรเจน หรือแก๊สที่มีความไวในการเกิดปฏิกิริยา เช่น ออกซิเจน โดยน้ าหนักของตัวอย่าง
ที่เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นที่อุณหภูมิเฉพาะของสารแต่ละชนิด โดยน้ าหนักที่หายไปนั้นเกิดมาจากการระเหย
การย่อยสลาย หรือการเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ เครื่อง TGA ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักสามส่วนคือ
ุ
ี่
เครื่องชั่ง, เตาเผา และ อุปกรณ์ทใชควบคมอุณหภูมิ ดังภาพที่ 37
้
ภาพที่ 37 รายละเอียดภายในเครื่อง Thermogravimetric analyzer
เทคนิค TGA จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิที่วัสดุทเกิดการเปลี่ยนแปลงน้ าหนัก และน้ าหนักที่เกิดการ
ี่
เปลี่ยนแปลง เมื่อน าข้อมูลที่ได้จาก TGA มาพิจารณาร่วมกับข้อมูลที่ได้จากเทคนิคอื่นๆ จะช่วยให้วิเคราะห์
องค์ประกอบ อัตราส่วนโดยน้ าหนักของสารองค์ประกอบในตัวอย่างได นอกจากนี้เรายังสามารถน าข้อมูล TGA
้
มาใช้ในการวิเคราะห์ยางรักเก่า และยางรักใหม่ ที่มีอุณหภูมิในการสลายตัวแตกต่างกัน โดยยางรักเก่ามี
อุณหภูมิในการสลายตัวต่ ากว่ายางรักใหม่ (ภาพที่ 38) ซึ่งบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของโครงสร้างในยางรักเก่า
(ก) (ข)
ภาพที่ 38 Thermogram ของ (ก) ยางรักใหม่ (ข) ยางรักเก่า
ั
นอกจากทั้งสี่เทคนิคที่กลาวข้างต้น ยังมีเทคนิคอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการช่วยตดสินใจ
่
ส้าหรับขั้นตอนการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพของวัตถุ และการเลือกใช้วัสดุสาหรับการซ่อมแซม
้