Page 40 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 40

36


                    2.  การท าให้อิเล็กตรอนวงใน (inner shell electron) ของอะตอมที่ผิวของวัสดุหลุด จะได้รังสีเอ็กซ์ที่มี
                       ค่าพลังงานเฉพาะ  (characteristic  X-ray)  แปลผลออกมาได้เป็นชนิดและปริมาณของธาต     ุ

                       องค์ประกอบด้วยเทคนิค Energy Dispersive X-ray  ดังตัวอย่างในภาพที่ 36


















                                         (ก)                                          (ข)

               ภาพที่ 35  ภาพ SEM ของเส้นใยผ้าไหม (ก) ที่ยังไม่เสื่อมสภาพ  (ข) ที่เกิดการเสื่อมสภาพ



                                                                      Element   Weight %     Atomic %
                                                                         C          31         42.17
                                                                         O        48.53        49.56
                                                                        Na         1.2          0.86
                                                                        Al         0.77         0.46
                                                                         Si        2.71         1.58
                                                                        Au         3.57         0.3
                                                                         S         0.49         0.25
                                                                         Cl        0.73         0.34
                                                                         K         1.13         0.47
                                                                        Ca         9.87         4.02
               ภาพที่ 36  EDX ของเส้นผ้าไหมเสื่อมสภาพ


               ส าหรับเทคนิคทั้งสามเทคนิคข้างต้นจะไม่มีการท าลายตัวอย่าง  ส าหรับกรณีของเทคนิค  SEM-EDX  มีการ
               เคลือบตัวอย่างเป็นฟิล์มบางด้วยคาร์บอนหรือทอง   ซึ่งต้องมีการจดบันทึกไว้อย่างละเอียดหลังจากท าการ
               วิเคราะห์ด้วยเทคนิคนี้แล้ว  เนื่องจากมีอนุภาคของคาร์บอนหรือทองเพิ่มเติมขึ้นมา  แต่ปริมาณของสารที่ใช้ใน

               การวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเหลานี้นั้นมีปริมาณที่น้อยมากประมาณ  50-100  มิลลิกรัม  ส าหรับเทคนิคต่อไปคือ
                                       ่
                                                                                ี่
               Thermogravimetric analysis (TGA) นั้นตัวอย่างจะถูกท าลาย แต่ปริมาณทใช้นั้นน้อยมากคือประมาณ 10-
               30 มิลลิกรัม

               6.4  Thermogravimetric analysis (TGA)


                    TGA  เป็นเทคนิคที่ใช้วิเคราะห์ความเสถียรของวัสดุเมื่อได้รับความร้อน  โดยการวัดน้ าหนักของวัสดุท ี่
               เปลี่ยนแปลงในแตละช่วงอุณหภูมิด้วยเครื่องชั่งทมีความไวสูง   เทคนิคนี้เหมาะสาหรับการวิเคราะห์การ
                              ่
                                                       ี่
               เปลี่ยนแปลงสภาพของวัสดุที่เกี่ยวข้องกับการดูดซับแก๊สหรือมีการระเหยของน้ า  หรือตัวท าละลาย  การตก
   35   36   37   38   39   40   41   42