Page 31 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 31
27
(ก) (ข) (ค) (ง)
ภาพที่ 27 ลายรดน้ า (ก) การเขียนลวดลายด้วยหรดาล (ข) การปิดกระดาษฟางชุบน้ าบนแผ่นทองค าเปลว
(ค) การรดน้ าเพื่อให้เกิดลวดลาย (ง) ลายรดน้ าที่เสร็จสมบูรณ์ (https://www.youtube.com/watch?v=HrwduOgHs-A)
4.4 กิจกรรมลายรดน้ าโดยใช้แผ่นอะคริลิก
ี่
1. ออกแบบลวดลายทจะเขียนบนแผ่นอะคริลิก
2. น าลวดลายที่ออกแบบมาลอกใส่กระดาษไขน ากระดาษไขที่ได้มาปรุลายด้วยเข็มตามลายเส้นท ี่
ออกแบบไว้ โดยให้ฝีเข็มมีระยะห่างประมาณ 1 มม. หรือน้อยกว่านั้น แล้วน ากระดาษไขที่ได้ไปวางบนแผ่น
อะคริลิก
้
3. เอาดินสอพองบดละเอียดใส่ผาท าเป็นลูกประคบ น าไปรูดบนกระดาษไขที่วางบนแผ่นอะคริลิก
4. การท าน้ ายาหรดาล ใช้เนื้อหรดาลบด 1 ส่วน กาวกระถิน 2 ส่วน (ละลายกาวกระถินด้วยน้ าร้อนให้
ท่วม แล้วทิ้งไว้ข้ามคืน) น้ าส้มป่อย 3 ส่วน (ส้มป่อยแห้งมาเติมน้ าร้อนแล้วทิ้งไว้ข้ามคืน ชิมแล้วมีรสฝาดและ
เปรี้ยว) แล้วบดผสมให้เข้ากัน
5. หลังจากนั้นน าน้ ายาหรดาลวาดไปตามลวดลายของดินสอพองบนแผ่นอะคริลิกโดยใช้พู่กัน แล้วถม
พื้นด้วยหรดาลให้เต็ม
็
6. น ายางรักมาเช็ดให้ทั่วแผ่นอะคริลิก แล้วน าผ้าขาวบางมาเชดออกอีกครั้ง เรียกว่าการถอนรัก
(ข้อสังเกต สีของหรดาลจะคล้ าลงกว่าเดิม)
่
7. จากนั้นน าทองค าเปลวมาติดบนชิ้นงาน โดยปิดให้แผ่นทองคาเปลวเกยกัน แล้วใช้มือกดแผน
ทองค าเปลวในทิศสวนทางกับการปิดแผ่นทองคาเปลว
8. น าส าลีกด (กวด) ทองให้แน่นทั้งชิ้นงาน น าน้ าพรมชิ้นงานให้ทั่ว
9. น ากระดาษห่อทองค าเปลว (กระดาษฟาง) มาวางให้ทั่วชิ้นงาน กระดาษฟางจะช่วยซับหรดาลและ
ยางรักให้หลุดออกมา วิธีนี้จะช่วยเก็บทองส่วนเกิน
10. น าส าลชุบน้ าค่อยๆ ลูบบนชิ้นงาน เพื่อก าจัดส่วนที่ไม่ต้องการออกจากชิ้นงานอีกครั้ง
ี
11. น าส าลชุบน้ าแล้วบีบให้แห้ง น าไปซับบนชิ้นงานเพื่อเช็ดน้ าส่วนเกินออกจากชิ้นงาน
ี