Page 30 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 30
26
(ก) (ข)
(ค) (ง)
ภาพที่ 26 การท ารักสมุก (ก) ถ่านใบตอง (ข) การบ่มพื้นรักสมุก (ค) การขัดพื้นรักสมุก (ง) การทายาง
รักอาบหน้าพื้นสมุก
4.3 การเขียนลายรดน้ า
มีรายละเอียดและขั้นตอนดังนี้ (ภาพที่ 27)
1. การร่างและโรยแบบ ก่อนการท าขั้นตอนนี้ ต้องท าความสะอาดพื้นรักด้วยดินสอพองละลายกับน้ า
เล็กน้อยแล้วถูวนให้ทั่วทั้งบริเวณ ทิ้งให้แห้งแล้วลูบดินสอพองออก ขั้นตอนนี้จะช่วยลดความมันของพื้นรัก
อย่างดี หลังจากนั้นท าการร่างภาพที่ต้องการลงบนกระดาษไข ใช้เข็มปรุให้เกิดรูตามลวดลาย วางทาบลงบน
พื้นรัก แล้วใช้ลูกประคบดินสอพองลูบลงบนพื้นรัก
2. การเขียนด้วยน้้ายาหรดาล เพื่อลงเส้นและถมพื้นในบริเวณที่ไม่ต้องการให้ทองติดบนพื้นรักด้วย
น้ ายาหรดาล (ผงหรดาลหินผสมกับน้ าต้มฝักส้มป่อย และกาวกระถิน)
3. การเช็ดรัก หลังจากทิ้งให้พื้นที่เขียนด้วยน้ ายาหรดาลแห้งดีแล้ว ให้เช็ดพื้นด้วยรักเช็ดหรือรักเคี่ยว
ิ
(รักน้ าเกลี้ยงตั้งไฟเคี่ยวโดยใช้ไฟอ่อนๆ) ใช้ผ้ามัสลนแตะรักเช็ด เช็ดลงบนพื้นที่เขียนให้ทั่ว จากนั่นใช้ผ้ามัสลิน
็
ผืนใหม่เชดยางรักออก
4. การปิดทองค้าเปลว โดยปิดทองให้ทับกันเล็กน้อยเพื่อไม่ให้มีรอยต่อ เมื่อปิดทองจนเต็มพื้นที่ ใช้นิ้ว
มือกดตามรอยให้ติดกันให้สนิทด ี
5. การรดน้้า ใช้กระดาษฟาง (กระดาษที่ใช้ห่อแผ่นทองค าเปลว) ชุบน้ าแล้วปิดให้ทั่วพื้นที่ทิ้งไว้ซักครู่ให ้
น้ ายาหรดาลละลาย แล้วค่อยๆ น าน้ าสะอาดราดลงพื้นรัก ถูน้ ายาหรดาลด้วยส าลีก้อนหรือกระดาษฟาง