Page 29 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 29

25


















               ภาพที่ 24  ความเสื่อมสภาพของลายรดน้ าตาหนักทอง วัดไทร กรุงเทพฯ





















                                               (ก)                                                           (ข)

               ภาพที่ 25  ความเสื่อมสภาพของลายรดน้ า (ก) ต าหนักทองวัดไทร กรุงเทพฯ

                           (ข) ตู้พระธรรม วัดราชาธิวาสวิหาร กรุงเทพฯ


               4.2  การเตรียมพื้นรักแบบโบราณ

                    การเตรียมพื้นรักบนแผ่นไม้มีขั้นตอนดังนี้
                    1.  ขัดถูพื้นไม้ที่เตรียมไว้ให้เรียบด้วยกระดาษทราย
                    2.  ใช้แปรงทายางรัก โดยทาบางๆให้ทั่วบริเวณ
                    3.  น าไปบ่มในตู้ที่มีความชื้นสูงให้ยางรักแห้ง

                    4.  ผสมยางรักและสมุก (ถ่านที่ได้จากการเผากะลาแล้วน ามาต าให้ละเอียด (ภาพที่ 3))
                    5.  เกลี่ยรักสมุกลงบนไม้ที่ทางยางรักไว้แล้วด้วยเกรียง โดยทาให้เรียบและหนาพอสมควร ทิ้งไว้ให้แห้ง
               ขัดผิวหน้าของรักสมุกให้พอเรียบ
                    6.  ท าซ้ าข้อ 5 อีก 1-2 ครั้ง (เพิ่มความหนา) ทิ้งไว้จนแห้ง ขัดพอเรียบ

                    7.  น ายางรักมาผสมกับดินสอพอง เรียก สมุกอ่อน มาเกลี่ยที่พื้นสมุกเดิม ทิ้งไว้จนแห้ง แล้วขัดเปิดหน้า
                    8.  ท าซ้ าข้อ 7 อีก 1-2 ครั้ง จนไม่มี “ตามด”
                     9.  น ายางรักน้ าเกลี้ยงมาทาที่หน้าพื้นสมุกอีก 1 ครั้ง รอให้แห้ง
                     10.  ท าซ้ าข้อ 9 อีก 1 ครั้ง รอจนแห้ง

               หลังจากเสร็จขั้นตอนทั้ง 10 ข้อข้างต้น จะได้พื้นยางรักแบบโบราณ พร้อมที่จะเขียนน้ ายาหรดาล
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34