Page 10 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 10
6
1.4 ปูนหมักและกระบวนการหมักปูน
กระบวนการหมักปูน คือ การน าปูนขาว (CaO) ที่ได้จากการเผาหินปูน (CaCO ) มาหมักในน้ าสะอาด
3
อย่างน้อยเป็นระยะเวลา 2 เดือน โดยระหว่างการหมักปูนนั้นต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้ าอย่างสม่ าเสมอ
ขั้นตอนแรกในการหมักปูนคือการน าหินปูน (CaCO ) มาเผาให้เป็นปูนขาว (CaO) ในการหมักปูนนั้น
3
จ าเป็นจะต้องใส่น้ าไว้ในภาชนะหรือบ่อหมักก่อน แล้วค่อยๆใส่ปูนที่บดแล้วลงไปในน้ าที่เตรียมไว้ CaO จะ
เกิดปฏิกิริยา Hydration ดังสมการ :
CaO(s) + H O Ca(OH) (s)
2
2
ื่
ในระหว่างเกิดปฏิกิริยาให้กวนปูนจนกว่าปฏิกิริยาจะหยุด ท าการหมักปูนทิ้งไว้อย่างน้อย 2 สัปดาห์ แต่เพอให้
ได้ปูนคุณภาพดีควรหมักทิ้งไว้อย่างน้อย 2 เดือนขึ้นไป ในระหว่างการหมักควรมีการถ่ายน้ าปูนอย่างสม่ าเสมอ
ิ่
ุ
การกวนปูนจะช่วยลดอณหภูมิที่จะเกิดขึ้นระหว่างการเกิดปฏิกิริยา และช่วยเพมการกระจายตัวของอนุภาค
ปูนขาวด้วย
1.5 การท าปูนสอ ปูนฉาบ ปูนต า และปูนปั้น
1.5.1 การท าปูนสอ
1. น าปูนหมักและทรายมาชั่งให้ได้ตามอัตราส่วนที่ต้องการ (1:1 หรือ 1:1.5 โดยน้ าหนัก) กวนผสมให้
เป็นเนื้อเดียวกัน
2. น าปูนที่ได้ฉาบลงบนอิฐที่ผ่านการแช่น้ าหรือฉีดน้ าปูนแล้ว (น้ าปูนขาวเป็นน้ ายาประสานระหว่างอิฐ
และปูนสอ)
3. น าแผ่นอิฐมาประกบ ปิดทับลงบนเนื้อปูนที่สอไว้ กดให้เนื้อปูนแนบสนิทไปกับแผ่นอิฐทั้ง 2 แผ่น
4. ใช้เกรียงขนาดเล็กขูดปูนสอส่วนเกินทิ้งดังรูปต่อไปนี้