Page 7 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 7
3
ส าหรับองค์ประกอบอื่นๆ ที่เติมลงไปเพื่อผสมกับปูนขาวนั้นจะมีหน้าที่แตกต่างกันดังนี้ (น. ณ ปากน้ า,
2532)
1. ทราย ท าให้เกิดความแข็งแรงและมีความคงตัว
2. เส้นใย ท าหน้าที่ในการยึดเหนี่ยวองค์ประกอบต่างๆ เข้าด้วยกัน
3. กาว ได้จากหนังสัตว์ น้ ามัน น้ าตาล ข้าวเหนียว ท าหน้าที่ในการยึดเหนี่ยวองค์ประกอบต่างๆ เข้า
ด้วยกัน
ในปัจจุบันการน าปูนหมักมาใช้ในการอนุรักษ์โบราณสถานหลายๆที่นั้น ยังไม่มีมาตรฐานการหมักปูนที่
แน่นอน จากการส ารวจพบว่า ปูนที่น ามาใช้กันนั้นมักเตรียมจากการน าปูนขาวหมักในน้ า โดยมีระยะเวลาใน
การหมักตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 1 ปี ระยะเวลาในการหมักจะมีผลต่อขนาดของอนุภาคปูนหมัก โดยพบว่าเมื่อใช้
เวลาในการหมักนานขึ้น ขนาดอนุภาคจะเล็กลงและเนื้อปูนหมักเนียนละเอียดมากขึ้น โดยทั่วไปปูนที่หมักที่ใช้
ในการซ่อมแซมหรือสร้างงานศิลปกรรมมักใช้เวลาหมักประมาณ 2 เดือน
ี่
การเสื่อมสภาพของปูนหมักทใช้ในการสร้างงานศิลปกรรม และโบราณสถานต่างๆ มักเกิดจาก
สภาพแวดล้อม เช่น ความร้อน ความชื้น และแสง รวมทั้งภัยธรรมชาติ นอกจากนี้การขาดความรู้ในการ
ี่
ซ่อมแซมทถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ปูนซีเมนต์ในการซ่อมแซมงานศิลปกรรม และโบราณสถาน มีผล
ั
ท าให้งานศิลปกรรมเกิดความเสื่อมสภาพและพงทลาย ดังตัวอย่างความเสื่อมสภาพของปูนปั้นประติมากรรม
เทพนม วัดพระยาท า กรุงเทพ ฯ (ภาพที่ 1 (ก)) และการพังทลายของฐานรองพระประธานในโบสถ์วัดป่ากลาง
ทุ่ง ปทุมธานี (ภาพที่ 1 (ข)) นอกจากนี้การเสื่อมสภาพของปูน ชั้นรองพื้น และชั้นสี จะพบได้บ่อยครั้งใน
จิตรกรรมโบราณในวัดต่างๆ ดังตัวอย่างในภาพที่ 2 แสดงการหลุดร่อนของชั้นสี และการโป่งพองของปูนฉาบ
จิตรกรรมฝาผนังวัดภุมรินทร์ราชปักษ กรุงเทพ ฯ
ี
(ก) (ข)
ภาพที่ 1 ตัวอย่างการเสื่อมสภาพของปูนหมักจากการซ่อมแซมด้วยปูนซีเมนต์
(ก) ประติมากรรมเทพพนม วัดพระยาท า กรุงเทพ ฯ (ข) ฐานรองพระประธานในโบสถ์วัดป่ากลางทุ่ง ปทุมธานี