Page 9 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 9
5
หมักไปผสมกับทราย เส้นใย และกาว น าไปปั้นเป็นลวดลายต่างๆ ใช้ในการประดับตกแต่งสถาปัตยกรรม
เรียกว่า ปูนปั้น (Stucco)
ในปัจจุบันพบว่ามีการศึกษาคุณสมบัติของปูนที่จะน าไปใช้ในการอนุรักษ์นั้นน้อยมากและ ยังไม่มี
มาตรฐานที่แน่นอน บางกรณีพบว่ามีการผสมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ หรือซีเมนต์ขาวเข้าไปในเนื้อปูนใน
ื่
ปริมาณที่แตกต่างกันเพอให้ปูนแข็งตัวได้เร็วขึ้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดผลเสียต่อทั้งงานสถาปัตยกรรมและ
ประติมากรรมโบราณ ดังนั้นในงานศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเน้นให้ได้ปูนที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการด าเนินงาน
อนุรักษ์
ปูนโบราณนั้นมีด้วยกันหลากหลายชนิด ซึ่งปูนโดยส่วนใหญ่ท าหน้าที่เป็นวัสดุเชื่อมประสาน ใช้ส าหรับ
ก่อสร้างอาคารโบราณสถานหรือประติมากรรมประเภทต่างๆ นอกจากนี้ปูนโบราณยังสามารถใช้ในการตกแต่ง
ผิวภายนอกแทนการใช้สีในปัจจุบัน โดยสามารถแบ่งประเภทของปูนโบราณตามลักษณะการใช้งานได้ทั้งหมด
3 ประเภทดังต่อไปนี้
1. ปูนปั้น (Stucco) เป็นวัตถุดิบที่ได้จากการน าปูนหมัก ผสมกับทราย เส้นใยกระดาษและน้ ากาว
ประสาน โดยมีอัตราส่วนโดยน้ าหนักของปูนขาว (CaO) 43% ทราย 22% เส้นใยกระดาษ 5 % กาวหรือตัว
ประสาน 30 % ผสมวัสดุต่างๆให้เข้ากันโดยการต าหรือโขลก บางครั้งช่างจึงเรียกปูนชนิดนี้ว่า “ปูนต า” โดย
ปูนปั้นจะแข็งตัวเมื่อท าปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ เกิดเป็น CaCO
3
ิ
2. ปูนสอ (Mortar) หรือปูนก่อ คือปูนขาวที่ผสมกับทราย ใช้ส าหรับเชื่อมประสานอฐหรือหิน ที่ใช้ในการ
ิ่
้
ื่
ก่อสร้างผนังหรือพื้น ในบางที่จะมีการผสมกาวหนังสัตว์หรือหรือน้ าออยไปด้วย เพอช่วยเพมความแข็งแรงของ
การเชื่อมประสานนั้น
3. ปูนฉาบ (Plaster) ปูนฉาบที่ใช้ในการอนุรักษ์โบราณสถานเกิดจากส่วนผสมของปูนหมักและทรายตาม
ั
ั
อตราส่วนของแต่ละชั้น อตราส่วนผสมระหว่างปูนหมักกับทรายนั้น สามารถแบ่งออกได้ 2 อตราส่วน ส่วนที่
ั
ิ่
ื่
หนึ่งใช้ส่วนผสม 2:5 โดยปริมาตร เพอเป็นปูนฉาบ ส่วนปูนส่วนที่สอง ส าหรับใช้ฉาบผิวนอกสุดนั้นต้องเพม
ส่วนผสมคือกระดาษสาหรือกระดาษฟาง ต าให้เข้ากัน
้
3.1 ปูนฉาบชั้นใน มีการผสมกาวหนังสัตว์ และบางครั้งอาจจะผสมด้วยหัวน้ าออย การฉาบจะฉาบ
อย่างน้อย 3 ชั้น ปูนชั้นในและชั้นกลางใช้ส่วนผสมปูนต่อทราย คือ 2 : 5 โดยปริมาตร ส่วนชั้นนอกใช้ส่วนผสม
ที่ 1 : 3 โดยปริมาตร ความหนาของปูนฉาบแต่ละชั้นอยู่ระหว่าง 9-20 มิลลิเมตร มักจะมีการขัดให้พนผิวปูน
ื้
หยาบเพอช่วยเรื่องการเกาะตัว ปูนฉาบจะหดตัวค่อนข้างมาก เพราะฉะนั้นมักจะต้องใช้น้ าฉีดพรมเล็กน้อย
ื่
เพื่อไม่ให้ปูนฉาบแห้งเร็วเกินไป
3.2 ปูนฉาบชั้นนอกสุด หรือที่เรียกว่า ปูนต า จะเป็นปูนที่ผสมด้วยกระดาษและกาว โดยการใช้งานจะ
ค่อยฉาบปูนที่ละพื้นที่ แล้วขัดด้วยเกรียงเหล็กขนาดเล็ก กดให้ปูนแนบกับผนังปูนฉาบชั้นนอกให้แน่น แล้วขัด
ผิวให้มันจนกระทั่งเสร็จทั่วผนัง ความหนาของผิวปูนต าเพียง 2-3 มิลลิเมตรเท่านั้น