Page 15 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 15

11



               (ground  layer)  ด้วยดินสอพองผสมกับกาวมะขาม  ผสมสีกับยางมะขวิด  แล้วเขียนบนพื้นดินสอพองที่แห้ง
               แล้ว

               2.2  สีฝุ่นที่ใช้ในจิตรกรรมฝาผนัง
                    จิตรกรรมฝาผนังบนพื้นปูน แบ่งเป็นสามชั้นดังนี้

                    1. ชั้นปูนต า เตรียมจากปูนหมัก ผสมเส้นใยกระดาษ กาวหนังสัตว์ และกาวน้ าอ้อย

                    2. ชั้นรองพื้น ส่วนชั้นรองพื้นของไทยโบราณนิยมใช้กาวเม็ดมะขาม ผสมกับดินสอพองเป็นหลัก
                    3. ชั้นสี น าสีโบราณที่ได้จากดิน หิน แร่ ยางไม้หรือเลือดของสัตว์มาผสมกับกาวจากพืช  เช่น กาวกระถิน

               กาวธนนไชย กาวมะขวิด กาวมะตูม และกาวสนฉัตร เป็นต้น
                    ส าหรับสีที่น ามาใช้ในงานจิตรกรรม  (Eremin,  2008;  Prasartset,  1996;  Giaccai,  2007;  Muñoz,

               José, Castillo Martínez, 2018) นั้นมีที่มาหลากหลายดังรายละเอียดต่อไปนี้

                    สีด า:  ได้จากเขม่า เช่น เขม่าน้ ามันยาง (เป็นผงละเอียด)    และเขม่าจากการเผากระดูกสัตว์ เช่น งาช้าง
                    สีแดง: มีแหล่งที่มาหลากหลายดังนี้

                                                                                                    ี
                          1. ได้จากดินแดง  (red  ochre)  มีสีแดงคล้ าและเนื้อสีหยาบ  เป็นดินที่มีส่วนผสมของแร่ฮมาไทต์
                    (hematite,  Fe O )  ซึ่งท าให้ดินมีสีแดง  ส าหรับสีดินแดงจากอินเดียเรียกดินแดงเทศ  ดินแดงจากจีน
                                  2 3
                    เรียกว่าตัวเปี้ย

                          2. ได้จากเมล็ดของต้นชาดหรคุณ สารให้สีมีชื่อทางเคมีว่า “iron pyrites” (FeS )
                                                                                           2
                          3. แดงชาดจากแร่ cinnabar หรือชื่อทางเคมีว่า mercury (II) sulfide (HgS)

                          4. สีเสน หรือตะกั่วแดง (minium, Pb(II) Pb(IV)O ) มีสีแดงอมส้มหรืออมเหลืองคล้ายลูกพิกุล
                                                                   4
                                                           2
                    สีขาว: มีแหล่งที่มาหลากหลายดังนี้
                          1. ปูนขาว (CaCO ) ปูนขาวที่เรารู้จักดีคือ ดินสอพอง โดยทั่วไปนิยมน าดินสอพองมาท าเป็นส่วน
                                         3
                    ของรองพื้นในงานจิตรกรรม  เตรียมจากดินสอพองที่น ามาแช่น้ าแล้วกรองจนได้เนื้อปูนที่สะอาดและเนื้อ
                    ละเอียด น ามาผสมกับกาวมะขาม

                          2. ดินขาว (kaolin, (Al Si O (OH) )) เผาให้สุกและบดให้ละเอียดกรองเอากากออก จะได้เนื้อสีที่
                                             2 2 5
                                                       4
                    ขาวละเอียด
                          3.  ขาวตะกั่ว หรือ Hydrocerussite (lead carbonate, PbCO ) ท าจากตะกั่วตัดเป็นแผ่นเล็กๆ
                                                                               3
                    แล้วเติมน้ าส้มสายชูลงไปในภาชนะปิดที่เจาะรูเล็กๆไว้  ทิ้งไว้ประมาณ  10  วัน  จะได้  ผงสีขาวของขาว

                    ตะกั่ว  (Holley,  1909)  สีขาวตะกั่วนี้จะเกิดการเสื่อมสภาพเปลี่ยนเป็นสีคล้ า  เนื่องจากขาวตะกั่วท า
                    ปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H S) ในอากาศเกิดเป็น lead sulfide (PbS) ซึ่งมีสีด า
                                                  2
                          4. BaSO  มักใช้ในการผสมกบสีอื่นๆ เช่น สีเขียว น้ าเงิน เหลืองตะกั่ว
                                                 ั
                                 4
                    สีเหลือง: มีแหล่งที่มาหลากหลายดังนี้
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20