Page 6 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 6
2
ชั้นสูงในการตรวจน้ าตาลในเลือด การดูความผิดปกติของปอดหรืออวัยวะด้วยการฉายรังสีเอ็กซ์ และการตรวจ
ร่างกายด้วยเครื่อง Magnetic Resonance Imaging (MRI) เป็นต้น)
์
4. ด าเนินการอนุรักษฟื้นฟูสภาพของวัตถุ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส าคัญที่สุด เริ่มตั้งแต่การท าความสะอาด
็
การฟื้นฟูสภาพเนื้อวัสดุ การซ่อมแซมส่วนที่ช ารุด และการเสริมความแขงแรง ขั้นตอนนี้ต้องด าเนินการโดย
์
ผู้เชี่ยวชาญ มีการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ในการอนุรักษ ต้องเลือกใช้วัสดุที่จะไม่ส่งผลเสียต่อเนื้อวัตถุใน
้
ระยะยาว (คล้ายคลึงกับการรักษาของแพทย์ ซึ่งจะต้องตัดสินใจว่าจะใช้ยา ผ่าตัด หรือฉายรังสี ซึ่งขอมูลที่ได้
จากขั้นที่ 1-3 จะช่วยให้แพทย์เลือกวิธีการที่เหมาะสมในการรักษา)
ื่
5. การเก็บรักษาวัตถุหลังการอนุรักษ์เพอชะลอการเสื่อมสภาพ ควรเก็บวัตถุไว้ในกล่องที่ทาจาก
กระดาษไร้กรด สถานที่เก็บห่างไกลจากแสงแดด มีการไหลเวียนของอากาศดี และมีความชื้นเหมาะสม ต้อง
หมั่นตรวจสภาพของวัตถุและสถานที่เก็บรักษาว่าปลอดจากแมลง ปลวก และสิ่งมีชีวิตที่จะมาท าลายวัตถุนั้น
(คล้ายคลึงกับการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยหลังการรักษา)
ในหัวข้อต่อไปจะกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับปูนโบราณและสีจากงานจิตรกรรมฝาผนัง
1. ปูนโบราณ
ประเทศไทยมีการน าปูนมาใช้เป็นวัสดุเชื่อมประสาน ฉาบ และปั้น ตั้งแต่วัฒนธรรมทวารวดี (ประมาณ
พุทธศตวรรษที่ 11-16) (สุขกมล วงศ์สวรรค์ 2545) และได้พบหลักฐานเรื่อยมา ทั้งในอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรอยุธยา (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 19-24) เป็นต้น ปูนหมัก (Lime Putty,
Ca(OH) ) เป็นวัสดุที่มีบทบาทส าคัญในสถาปัตยกรรมไทยโบราณ ใช้ในการก่อสร้างโบราณสถานต่างๆ โดยมี
2
ชื่อเรียกแตกต่างกันขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการใช้งานและองค์ประกอบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. ปูนก่อหรือปูนสอ (mortar) คือ วัสดุเชื่อมประสานที่ใช้ในงานก่ออิฐ ปูนก่อเกิดจากปูนขาวหมัก หรือ
lime mortar เป็นส่วนผสมระหว่างปูนขาว น้ า และทราย ปูนชนิดนี้รับน้ าหนักไม่ได้มากนักเมื่อเปรียบเทียบ
กับซีเมนต์ปอร์ตแลนในปัจจุบัน และมีรูพรุนจากตัววัสดุเอง ท าให้ไม่กันน้ าและความชื้น ปูนก่อนิยมใช้ปูนขาว
หมักผสมกับทรายหยาบ
2. ปูนฉาบ (plaster) ใช้ส าหรับงานฉาบผิวอาคารเพื่อตกแต่งพื้นผิวให้เรียบ โดยทั่วไปส่วนผสมของปูน
ขาวหมักส าหรับงานฉาบ (lime plaster) คือ ใช้ปูนขาวผสมเข้ากับน้ า ทราย และวัสดุอื่นๆ เช่น ขนสัตว์ เส้น
ใยจากพืชและกาวประเภทต่างๆ ทั้งนี้ ปูนฉาบยังแบ่งออกได้เป็นปูนฉาบชั้นในและปูนฉาบขัดผิวชั้นนอกสุด ซึ่ง
มีส่วนผสมที่แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มช่าง มีการใช้ทรายละเอียดผสมในปูนหมักส าหรับฉาบ หรือไม่ผสม
ทรายเลยในปูนฉาบขัดผิว (ปูนฉาบชั้นนอกสุด)
3. ปูนปั้น (stucco) คือ ปูนประเภทหนึ่งที่ใช้ส าหรับปั้นประติมากรรม หรือใช้ปั้นลวดลายประดับ
ตกแต่งสถาปัตยกรรมในประเทศไทยมักเรียกปูนปั้นแบบโบราณว่า ปูนต า ซึ่งเกิดจากขั้นตอนการน าปูนขาว
ทราย เส้นใยและกาว มาต าเขาด้วยกันในครกเพอให้ส่วนผสมเข้ากันดี
้
ื่