Page 33 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 33

29



               5.  อาณาจักรทวารวดี: เมืองนครปฐมโบราณ
                                                                                                      ่
                    ส าหรับผู้ที่ไม่ได้อยู่ในแวดวงของประวัติศาสตร์  อาจเกิดค าถามว่า  “อาณาจักรทวารวดี”  เก่าแก่แคไหน
               เก่ากว่าสุโขทัยหรือไม่ ค าตอบคือ อาณาจักรทวารวดีเกิดขนประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16 (1,450-1,000 ปี
                                                               ึ้
               มาแล้ว)  เก่าแก่กว่าสุโขทัย  โดยเมืองนครปฐมโบราณนั้นเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรทวารวดี  ในช่วงก่อนสมัย

               อยุธยา  เมืองนครปฐมโบราณเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย  มี  “พระประโทณเจดีย์”  เป็นศาสน

               สถานกลางเมืองโบราณดังแผนผังในภาพที่ 11 (สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง และ อนุรักษ์ ดีพมาย, 2564) ชุมชนนอก
                                                                                      ิ
               เมืองมีศูนย์กลางคือ “พระปฐมเจดีย์” ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ชาวนครปฐมและคนไทยจะรู้จักองค์

                                                                 ุ
               พระปฐมเจดีย์หรือชื่อเดิมคอ  “พระปทม  (สถานที่ที่พระพทธเจ้าเสด็จมาบรรทม)”  เป็นอย่างดีจากต านาน
                                      ื
               “พญากง”และ “พญาพาน” ส าหรับชื่อ “พระปฐมเจดีย์” ถูกตั้งโดยรัชกาลที่ 4 เพื่อให้ถูกต้องตรงตามประวัติ
                                 ่
               ความเป็นเจดีย์เก่าแกที่ถูกสร้างก่อนเจดีย์องค์อื่นๆ  พระปฐมเจดีย์ถูกน าไปเชื่อมโยงกบที่ตั้งของสุวรรณภูมิซึ่ง
                                                                                      ั
               เป็นดินแดนที่พระเจ้าอโศกมหาราชเคยส่งสมณทูตมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา เนื่องจากพบหลักฐานต่าง ๆ (สม
               เด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ, 2505) ดังนี้

                    1. จากรูปทรงเจดีย์องค์เดิม  (ก่อนบูรณะซ่อมแซมในปี  พ.ศ.  2396)  มีลักษณะคล้ายสถูปสมัยพระเจ้า

               อโศกมหาราช
                    2. การพบธรรมจักรศิลาจ านวนมาก ซึ่งธรรมจักรศิลานั้นใช้เป็นปูชนียวัตถุแทนองค์พระพุทธเจ้า








































                        ภาพที่ 11 แผนผังเมืองนครปฐมโบราณ (สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง และ อนุรักษ์ ดีพมาย, 2564)
                                                                                       ิ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38