Page 29 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 29

25



                 ข้อมูลเสริม

                 1. ตัวย่อบอกสถานะของสาร:   s = solid, l = liquid, g = gas, aq = aqueous solution (สารละลายที่มีน้ าเป็นตัว
                ท าละลาย)
                 2. M (Molar, mol/L (โมลต่อลิตร)) เป็นหน่วยบอกความเข้มข้นของสารละลาย


                 3. ในการเขียนสมการปฏิกิริยา มีจุดสังเกตคือจ านวนและชนิดของอะตอมของธาตุจะต้องเท่ากันทั้งสองข้างของสมการ

                            2+
               การทดสอบ Ca ในสารละลาย สามารถใช้การทดสอบสีของเปลวไฟหรือ flame test ได้ดังรูปข้างล่างนี้ โดย
                                             2+
               สีของเปลวไฟของสารละลายที่มี Ca  จะเป็นสีแดงอิฐ



















               ดินสอพองไม่เกิดปฏิกิริยากับเบส   ซึ่งในการทดสอบนี้คือสารละลายโซดาไฟเจือจาง  (1  M)  เนื่องจากดินสอ
               พองหรือ CaCO  มีสมบัติเป็นเบส
                             3

               4.8.2 ยิปซัม (CaSO )
                                 4
                     ยิปซัม  (CaSO )  เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีการเติมลงในปูนซีเมนต์  ละลายได้ในสารละลายกรดเจือจาง
                                 4
               ทั้งสองชนิด ดังสมการการละลายต่อไปนี้ :
                     CaSO (s)   +    2HCl(aq)   ---->    CaCl (aq)  +  H SO (aq)
                                                                  2
                          4
                                                         2
                                                                      4
                     CaSO (s)   +    2HNO (aq)   ---->    Ca(NO ) (aq)  +  H SO (aq)
                                                                           4
                                                            3 2
                                                                       2
                                         3
                          4
                                  2+
                     การทดสอบ Ca ในสารละลาย สามารถใช้การทดสอบสีของเปลวไฟหรือ flame test ได้ในลักษณะ
               เดียวกับข้อ 4.8.1
                     ยิปซัมไม่เกิดปฏิกิริยากับเบส  ซึ่งในการทดสอบนี้คือสารละลายโซดาไฟเจือจาง (1 M)

               4.8.3 ตะกั่วขาว (2PbCO ·Pb(OH) )
                                             2
                                     3
                     ตะกั่วขาวถูกใช้เป็นสีขาวในจิตรกรรมไทย   อาจใช้เป็นสีเดียวหรือน าไปผสมกับสีอื่น   ดังนั้นในการ
               วิเคราะห์สีจากงานจิตรกรรมโบราณอาจพบตะกั่วขาวเป็นองค์ประกอบด้วย  ตะกั่วขาวเกิดปฏิกิริยาได้กับทั้ง

               กรดเกลือและกรดดินประสิวซึ่งเป็นสารเคมีหลัก ดังสมการปฏิกิริยาต่อไปนี้ :
                     2PbCO ·Pb(OH) (s)   +    6HCl(aq)   ---->    3PbCl (aq)  +  2CO (g)   +   4H O(l)
                                                                                           2
                                                                                2
                                    2
                            3
                                                                   2
                     2PbCO ·Pb(OH) (s)   +    6HNO (aq)   ---->    3Pb(NO ) (aq)  +  2CO (g)   +   4H O(l)
                            3
                                                                                               2
                                    2
                                                  3
                                                                                    2
                                                                       3 2
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34