Page 30 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 30

26


                             2+
               การทดสอบ Pb ในสารละลาย สามารถใช้สารละลาย KI (เป็นสารเคมีเฉพาะ*) หยดลงไปในสารละลายของ
               ตะกั่วขาว (หลังจากหยดสารละลายกรดเจือจาง) จะเกิดตะกอนสีเหลืองของ PbI  ดังสมการปฏิกิริยาต่อไปนี้ :
                                                                                 2
                        2+
                     Pb (aq)    +     KI(aq)    -------->    PbI (s)
                                                         2

               4.8.4 แดงชาด (HgS)

                     แดงชาดถูกใช้อย่างกว้างขวางในจิตรกรรมไทย  อาจใช้เป็นสีเดียวหรือน าไปผสมกับสีอื่น  ดังนั้นในการ
               วิเคราะห์สีจากงานจิตรกรรมโบราณอาจพบแดงชาติผสมกับสีอื่น เช่น ตะกั่วขาวหรือหรดาล (As S ) แดงชาด
                                                                                               2 3
               ไม่เกดปฏิกิริยากับทั้งกรดเกลือและกรดดินประสิว  และไม่เกิดปฏิกิริยากับเบสซึ่งเป็นสารเคมีหลัก  แต่  HgS
                   ิ
                                                                           2-
               เกิดการละลายในสารเคมีเฉพาะ คือสารละลาย KI ในกรดแก่ ได้ HgI (aq) (Gettens, Feller & Chase,
                                                                          4
               2012)


               4.8.5 Prussian blue (Fe [Fe(CN) ] )
                                             6 3
                                      4
                     Prussian blue มีสูตรเคมีเป็น Fe [Fe(CN) ]  เป็นสีน้ าเงินสังเคราะห์ที่ใช้ในงานจิตรกรรมสมัยใหม่ เริ่ม
                                                         6 3
                                                 4
                                                                         ิ
               ใช้มาตั้งแต่ต้น  ค.ศ.  1700  ละลายได้ในกรด  ไม่ละลายในเบส  แต่เกดปฏิกิริยากับเบสได้ตะกอนสีน้ าตาลแดง
                                                                             4
               ของ  Fe(OH)   และไอออนเชิงซ้อน  hexacyanoferrate(II)  ([Fe(CN) ] ¯)  (Berrie,  2012;  Pierna  &
                                                                            6
                           3
               Martínez, 2018)
               การละลายในกรด:

                   Fe [Fe(CN) ] (aq)  + 18HCl(aq) (หรือ 18HNO (aq))  →   3FeCl (aq) + 4FeCl (aq) + 18HCN(g)
                                                                                         3
                                                           3
                                                                            2
                            6 3
                     4
               ปฏิกิริยากับเบส:
                   Fe [Fe(CN) ] (aq)   +   3NaOH(aq)    →     Fe(OH) (s)    +    Na [Fe(CN) ](aq)
                            6 3
                                                                                      6
                                                                              4
                                                                  3
                     4

               4.8.6 มาลาไคต์ (Cu CO (OH) )
                                 2
                                    3
                                         2
                     มาลาไคต์เป็นแร่คอปเปอร์คาร์บอเนตมีสีเขียว  มีสูตรเคมีเป็น  Cu CO (OH)   มีการใช้มาลาไคต์ในการ
                                                                           2
                                                                                    2
                                                                               3
               เขียนภาพในยุโรป  แต่นิยมน้อยกว่า  azurite  เนื่องจากเมื่อถูกบดละเอียดจะให้สีเขียวที่ออนมากเมื่อเทียบกับ
                                                                                         ่
               azurite ละลายได้ดีในกรด  (Gettens & Fitzhugh, 2012; Shabani, Irannajad, & Azadmehr, 2012;
               Nicol, 2018)
                     Cu CO (OH) (s) +   4HCl(aq)     →    2CuCl (aq)    +   CO (g)   +   3H O(l)
                                                                                        2
                                                                             2
                           3
                                                                2

                        2
                                2
                     Cu CO (OH) (s) +   4HNO (aq)   →    2Cu(NO ) (aq)    +   CO (g)   +   3H O(l)
                                                                                 2
                           3
                                2
                                                                                            2
                        2
                                                                  3 2
                                              3

               ไม่ละลายในเบส แต่เกิดปฏิกิริยาได้ดังสมการ (Rompaey & Vereecken, 1977) :
                     Cu CO (OH) (s) +   2NaOH(aq)  →    2Cu(OH) (s)    +   Na CO (aq)
                                                                                 3
                                2
                           3
                        2
                                                                              2
                                                                  2


                                                            2CuO(s)
               Cu(OH)  เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อได้ tenorite (CuO)
                      2
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35