Page 34 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 34

30



                    ส าหรับการขุดแต่งโบราณสถานวัดพระเมรุเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2482 ภายใต้การควบคุมของปิแอร์ ดูปองต์
               ชาวฝรั่งเศส (Dupont, 1959: 54–56) นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2483 ปิแอร์ ดูปองต์ ยังท าการขุดแต่งเจดีย์จุล

               ประโทนอีกด้วย  นอกจากการค้นพบโบราณสถานเหล่านี้แล้วยังพบโบราณวัตถุอีกมากมาย  โดยเฉพาะจารึก
               เหรียญเงินสลักด้วยตัวอักษรปัลลวะอ่านได้ว่า “ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ” ซึ่งน าไปสู่ข้อสันนิษฐานว่า “นครปฐม

               เป็นเมืองหลวงของกษัตริย์แห่งทวารวดี  (Boeles,  1964)  เนื่องจากเป็นเมืองโบราณที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสมัย

               ทวารวดี  และค้นพบโบราณสถานและโบราณวัตถุศิลปะทวารวดีเป็นจ านวนมาก  แต่ต่อมาข้อสันนิษฐานนี้ถูกตี
               ตกไปเนื่องจากการค้นพบหลักฐานเหรียญเงินสลักแบบเดียวกันในเมืองโบราณอื่นๆด้วย  (Boisselier,  1972;

                                        ิ
               ส านักงานโบราณคดี  และพพธภัณฑสถานแห่งชาติที่  2  สุพรรณบุรี,  2545;  ภาควิชาโบราณคดี,  2523;  กรม
                                      ิ
               ศิลปากร, 2534; จารึก วิไลแก้ว, 2534)
                    ลักษณะโบราณสถานที่ค้นพบมักจะถูกสร้างด้วยอิฐและศิลาแลง โดยอิฐจะถูกยึดให้ติดกันด้วยปูนสอ และ

               มีการประดับตกแต่งด้วยปูนปั้นดังตัวอย่างเจดีย์วัดธรรมศาลาในภาพที่ 12 และพบสถูปโบราณที่ท าจากปูนปั้น

               (ภาพที่  12  (ค))  นอกจากนี้ยังพบประติมากรรมที่ทาจากปูนโบราณคือ  ปูนปั้นรูปชาวต่างชาติจากวัดพระประ
               โทณเจดีย์  ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญก้าวหน้าทางสถาปัตยกรรมและประติมากรรม  รวมทั้งเทคนิคการผสม

               ปูนหมักเป็นปูนสูตรต่างๆ ทั้งปูนสอและปูนปั้น ซึ่งยังมีหลักฐานปรากฏเป็นรูปธรรมให้เห็นจวบจนปัจจุบัน














                                                                            ปูนปั้นประดับตกแต่ง


                                      (ก)                                                           (ข)


















                                                           (ค)

                ภาพที่ 12  เจดีย์วัดธรรมศาลา (ก) โครงสร้างที่ประกอบด้วยอิฐและศิลาแลง  (ข) ปูนปั้นประดับตกแต่ง  (ค)
                                                           สถูปโบราณ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39