Page 28 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 28
24
การละลาย
สารละลาย กรดดินประสิว ปฏิกิริยากับสารเคม ี
ผงส ี กรดเกลือเจือจาง โซดาไฟเจือจาง เจือจาง เฉพาะ และรายละเอียด
(1 M HCl) ของปฏิกิริยา
(1M NaOH) (1 M HNO )
3
7. Azurite เติม NH (aq) จะเกิด
3
(Cu (CO ) (OH) ) สารละลายสีน้ าเงินของ
3
2
3 2
สารเชิงซ้อนคอปเปอร์-
แอมมีน
8. Ultramarine (มีกลิ่นแก๊ส
(Na Al Si O S ) ไข่เน่า) (มีกลิ่นแก๊สไข่เน่า)
7 6 6 24 3
9. Chrome yellow เติมสารละลาย KI เกิด
ละลายบางส่วน
(PbCrO ) ตะกอนสีม่วงด า
4
10. Iron oxide เติม KSCN(aq) ไม่เกิด
red สารละลายสีแดงเข้ม
2+
ละลายเล็กน้อย ละลายเล็กน้อย ของ [Fe(SCN)(H O) ]
5
2
เนื่องจากสีเกิดการละลาย
น้อยมาก
11. Iron oxide เติม KSCN(aq) ไม่เกิด
yellow สารละลายสีแดงเข้ม
2+
ละลายเล็กน้อย ละลายเล็กน้อย ของ [Fe(SCN)(H O) ]
5
2
เนื่องจากสีเกิดการละลาย
น้อยมาก
12. คราม (Indigo)
4.8 ปฏิกิริยาระหว่างสีที่ใช้ในงานจิตรกรรมกับสารเคมีเฉพาะ และรายละเอียดของปฏิกิริยา
4.8.1 ดินสอพอง (CaCO )
3
ดินสอพองถูกใช้เป็นชั้นรองพนในการท าพื้นผนังให้เรียบก่อนลงสีจิตรกรรม ในการวิเคราะห์สีจากงาน
ื้
จิตรกรรมโบราณมักพบดินสอพองหรือ CaCO เป็นองค์ประกอบด้วยเสมอ ดินสอพองเกิดปฏิกิริยาได้กับทั้ง
3
กรดเกลือและกรดดินประสิวซึ่งเป็นสารเคมีหลัก ดังสมการปฏิกิริยาต่อไปนี้ :
CaCO (s) + HCl(aq) ----> CaCl (aq) + CO (g) + H O(l) และ
3
2
2
2
CaCO (s) + HCl(aq) ----> CaCl (aq) + CO (g) + H O(l)
2
2
2
3