Page 24 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 24

20



               4.5  เทคนิค X-ray fluorescence (XRF)
                     เทคนิคนี้ใช้ในการวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของธาตุองค์ประกอบในวัสดุ  โดยเทคนิคนี้จะมีการยิงรังสี

               เอ็กซ์เข้าไปยังตัวอย่าง  อิเล็กตรอนวงในของอะตอมของธาตุในตัวอย่างจะรับพลังงาน  และหลุดออกจาก
               อะตอม  ท าให้อิเล็กตรอนในชั้นที่มีพลังงานสูงกว่าเข้ามาแทนที่  และคายพลังงานออกมา    ซึ่งพลังงานที่คาย

               ออกนี้จะอยู่ในช่วงของรังสีเอ็กซ์และมีค่าจ าเพาะขึ้นอยู่กับชนิดของธาตุ   เรียกพลังงานที่คายออกมานี้ว่า

               “characteristic X-ray”  เนื่องจากอะตอมต่างชนิดกันจะมีค่าพลังงานของ characteristic X-ray แตกต่าง
               กัน  ส าหรับการหาปริมาณของธาตุได้จากการวัดความเขมของ  characteristic  X-ray  เทคนิคนี้มีความ
                                                               ้
               คล้ายคลึงกับเทคนิค  EDX  น ามาใช้ในการวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของธาตุองค์ประกอบในตัวอย่างสีเขียวที่
               ใช้ในงานจิตรกรรม (Rueangyodjantana & Buntem, 2016) ดังในภาพที่ 10






















                                      ภาพที่ 10  สเปกตรัม XRF ของสีเขียวบนงานจิตรกรรม



               4.6  การทดสอบสีโดยใช้ปฏิกิริยาเคม  ี
                    จากขอมูลเกี่ยวกับสูตรเคมของสีฝุ่นที่ใช้ในจิตรกรรมฝาผนัง  (หัวข้อ  8.3)  เราสามารถน าเทคนิคทาง
                                         ี
                        ้
               วิทยาศาสตร์ทั้ง 4 ชนิดคือ FT-IR, XRD, SEM-EDEX และ XRF มาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ชนิดของสีฝุ่นที่ใช้
               ในงานจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส าคัญในกระบวนการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนัง แต่วิธีทางวิทยาศาสตร์

               เหล่านี้จะต้องเกี่ยวข้องกับเครื่องมือที่มีความซับซ้อน   เราสามารถใช้วิธีทางเคมีมาวิเคราะห์ตรวจสอบ

                                                          ึ่
                        ์
               เอกลักษณของสีที่ใช้ในงานจิตรกรรมได้โดยไม่ต้องพงพาเทคนิคที่ต้องใช้เครื่องมือที่มีความซับซ้อน   โดยใช้
               หลักการต่อไปนี้
                    1. ใช้กล้องจุลทรรศน์ดูลักษณะและสีของผลึก เป็นการตรวจสอบลักษณะเบื้องต้นของสี

                                                                                              ึ้
                    2. น ามาละลายในกรดอนินทรีย์ เช่น กรดเกลือ (HCl) แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขน การละลาย
               ของสีเป็นอย่างไร  มีแก๊สเกิดขึ้นหรือไม่ แก๊สมีกลิ่นหรือไม่

                    3. น ามาละลายในเบส เช่น NaOH แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การละลายของสีเป็นอย่างไร  มี

               การเปลี่ยนแปลงสีของผงสีหรือไม่ อย่างไร
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29