Page 19 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 19

15



               3.  การอนุรักษ์ซ่อมแซม
                    ในการอนุรักษ์ซ่อมแซมงานศิลปกรรมโบราณประเภทต่างๆ มีขั้นตอนที่ส าคัญดังนี้

                    1. แก้ปัญหาสาเหตุที่ท าให้เกิดการเสื่อมสภาพ  เช่น  ปัญหาที่เกิดจากแมลงกัดแทะ  หีบห่อที่ไม่เหมาะสม
               ความชื้น แสงอัลตราไวโอเลต การเกิดผลึกเกลือในชิ้นงานปูนโบราณ เป็นต้น

                    2. ท าความสะอาด  ขั้นตอนนี้มีความส าคัญเป็นอย่างมาก  รายละเอียดและวิธีการจะขึ้นอยู่กับชนิดของ

               วัสดุ ระดับความเสื่อมสภาพ รวมทั้งความพร้อมของอุปกรณ์และสารเคมี
                    3. การเสริมความแข็งแรง  เช่น  เสริมส่วนที่ฉีกขาด  (งานกระดาษโบราณ  และผ้าโบราณ)  การเย็บปัก

                                                                                                      ี

               กลับคืนด้ายและอุปกรณ์ตกแต่งที่หลุดออกจากผืนผ้าโบราณ     การผนึกพื้นผิวที่มีการหลุดร่อน  (ในกรณของ
               งานจิตรกรรมบนผนังปูน และงานลายรดน้ า)
                    4. การยืดอายุชิ้นงานศิลปกรรมหลังการซ่อมแซม  อาจท าได้โดย  การห่อหุ้มชิ้นงานด้วยกระดาษไร้กรด

               การใส่สารดูดความชื้นในตู้จัดแสดง  การเคลือบชิ้นงานด้วยพอลิเมอร์ที่เหมาะสมเพื่อปกป้องผิวหน้าของวัตถุ
               การรักษาอุณหภูมิของห้องจัดแสดงให้คงที่และมีการถ่ายเทของอากาศที่ดี

                    ตัวอย่างการอนุรักษ์ซ่อมแซมปูนโบราณฐานรองพระประธานในโบสถ์วัดป่ากลางทุ่ง   (โครงการบูรณะ

               ฉุกเฉินหลังอุทกภัยอุโบสถเก่าวัดป่ากลางทุ่ง อ.เมือง จ.ปทุมธานี, SEAMEO SPAFA) แสดงในภาพที่ 3




















                                               (ก)                                     (ข)

                ภาพที่ 3     ปูนโบราณฐานรองพระประธานในโบสถ์วัดป่ากลางทุ่ง (โครงการบูรณะฉุกเฉินหลังอุทกภัยอุโบสถ

                   เก่าวัดป่ากลางทุ่ง อ.เมือง  จ.ปทุมธานี, SEAMEO SPAFA) (ก) ก่อน  และ (ข) หลัง  การอนุรักษ์ซ่อมแซม


               การอนุรักษ์โบราณสถานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ส าคัญมากวัดหนึ่งคือวัดไชยวัฒนาราม  ซึ่งได้รับความ

               เสียหายอย่างหนักจากอทกภัยเมื่อปี  พ.ศ.  2554  ได้รับเงินทุนสนับสนุนเพื่อด าเนินการอนุรักษซ่อมแซมจาก
                                                                                               ์
                                   ุ
               รัฐบาลสหรัฐอเมริกาผ่านกองทุนเอกอัครราชทูตเพอการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรม (US Ambassador Fund for
                                                         ื่
               Cultural Preservation (AFCP)) โดยมอบเงินทุนสนับสนุนให้กองทุนโบราณสถานโลก (World Monument
               Fund) ท างานร่วมกับกรมศิลปากรของไทย ผู้เชี่ยวชาญงานอนุรักษ์ของกองทุนโบราณสถานโลกท างานร่วมกับ

               ช่างฝีมือของไทยน าปูนหมักผสมทรายและตัวช่วยประสานอื่นๆ  ตามสูตรโบราณ  มาซ่อมทั้งส่วนที่เป็นพระ

               ปรางค์และเมรุราย รวมทั้งพระพทธรูปปางมารวิชัยที่มีการลงรักปิดทอง ดังภาพที่ 4 และ 5
                                          ุ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24