Page 21 - เรื่อง วัสดุวัฒนธรรม ปูนโบราณ จิตรกรรมฝาผนัง และอาณาจักรทวารวดี
P. 21

17



               4.  เทคนิคทางวิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
                    มีการน าเทคนิคทางวิทยาศาสตร์หลายมาใช้ในการวิเคราะห์ปูนโบราณและสีที่ใช้ในงานจิตรกรรมโบราณ

               โดยเริ่มต้นด้วยการเก็บตัวอย่างดังรายละเอียดในหัวข้อต่อไป
               4.1  การเก็บตัวอย่างจากวัตถุศิลปกรรม

                    การเก็บตัวอย่างจากวัตถุศิลปกรรมเป็นขั้นตอนที่ส าคัญ  และต้องด าเนินการด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง

               พยายามท าให้เกิดความเสียหายกับชิ้นงานให้น้อยที่สุด    และได้ตัวอย่างส าหรับการน ามาวิเคราะห์ทาง
                                                                    ้
               วิทยาศาสตร์        โดยเลือกใช้เทคนิคให้เหมาะสมเพื่อให้ได้ขอมูลที่เป็นประโยชน์ในการน าไปวิเคราะห์วัตถุ
               ศิลปกรรม        ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีเครื่องมือที่สามารถวิเคราะห์ได้โดยตรงบนชิ้นงานโดยไม่ต้องท าการเก็บ
               ตัวอย่าง แต่ขอมูลที่ได้ยังมีข้อจ ากัด ดังนั้นการเก็บตัวอย่างจากชิ้นงานยังเป็นขั้นตอนที่มีความจ าเป็นเพื่อท าให้
                           ้
               ทราบข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ท าชิ้นงานอย่างถูกต้องและครบถ้วน

                    หลักการในการเก็บตัวอย่าง  ให้เก็บในบริเวณที่ไม่มีผลกระทบต่อความแขงแรงของวัตถุนั้น   ดังตัวอย่าง
                                                                                ็

               การเก็บปูนจากประติมากรรมเทพพนม  วัดพระยาท าวรวิหาร  และตัวอย่างสีจากจิตรกรรมฝาผนัง  Vihear
               Kompong Tralach Leu ประเทศกัมพูชาดังภาพที่ 6 (Sreyleak & Buntem, 2019) ส าหรับการเก็บตัวอย่าง

               สีนั้นใช้ก้านส าลีนุ่มๆ เก็บตัวอย่างสีในบริเวณที่ต้องการดังภาพที่ 6 (ข)















                                                           (ก)















                                                           (ข)

               ภาพที่ 6  วิธีการเก็บตัวอย่าง (ก) ปูน   (ข) สีบนจิตรกรรมฝาผนัง Vihear Kompong Tralach Leu ประเทศ

               กัมพูชา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26