Page 15 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 15

11












                    3.5  เลื่อมปุ่มปูด  ลักษณะเป็นเลื่อมโลหะกลมมีความนูนเป็นทรงถ้วย










                                                                 ้
                    3.6  ดิ้นมันลักษณะเป็นเส้นลวดปั่นเกลียวขนาดเล็ก ใชในการปักเกสร ตีเกลียว ปักใบไม้ เวลาใช้น ามาตัด
                    เป็นท่อนๆตามขนาดทต้องการ
                                      ี่










               2.2  วิธีด าเนินการ
                    1. การร่างแบบ
                      ท าการคัดลอกลายจากต้นฉบับ     โดยการน าแผนพลาสติกใสท าการคัดลอก     เพื่อให้ไดขนาดของ
                                                               ่
                                                                                                 ้
                                                       ุ
                    โครงสร้างลายที่ใกล้เคียงกับต้นฉบับมากที่สด   จากนั้นน าลวดลายที่ได้มาปรับให้เข้ากับขนาดและ
                    โครงสร้างของลายให้ที่ก าหนดไว้  เนื่องจากส่วนของการจ าลองตัดทอนขนาดลงครึ่งหนึ่งของต้นฉบับ  จึง
                    จ าเป็นต้องปรับลายในส่วนของช่องกระจกและสังเวียนใหม่เพื่อให้การเดินเถาลายลงตัวกับกรอบสังเวียน
                    ใหม่ที่ก าหนดขึ้น  เมื่อเรียบร้อยแล้วท าการร่างแบบลงในกระดาษรองปัก  ซึ่งเป็นกระดาษที่มีลักษณะบาง

                    สามารถปักทับและฉีกออกได้เมื่อปักจบขั้นตอนตามต้องการ    น ากระดาษลายเนาลงกับสะดึงผ้าที่เตรียม
                    ไว้ การลอกลายลงกระดาษนี้ต่างจากวิธีปักของชิ้นงานต้นฉบับ โดยของเดิมจะท าการแบ่งเส้นสังเวียนและ
                    ออกลายในตัวผาเลย  ในส่วนของลายกระถางต้นไม้  จะใช้การตัดฉลุเป็นรูปต้นไม้มาวางและปักดิ้นทับลง
                                ้
                    ไป ท าให้ไม่ต้องมาแกะกระดาษออกในภายหลัง การเตรียมในส่วนนี้ขึ้นอยู่กับความถนัดของผู้ปัก สามารถ

                    ท าได้ทั้งสองวิธี
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20