Page 6 - วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 6

2

               จากประสบการณ์งานวิจัยนี้ ทางกลุ่มวิจัยได้รวบรวมขั้นตอนการอนุรักษ์ซ่อมแซม ไว้ดังนี้ คือการอนุรักษ์เชิงป้องกัน และการอนุรักษ์เชิงสงวนรักษา

                     การอนุรักษ์เชิงป้องกัน  เป็นการด าเนินงานเพื่อป้องกันความเสียหายกับชิ้นงานจากสภาพแวดล้อม  การจัดการลดความเสี่ยงที่ส่งผลต่อเนื้อกระดาษ  เช่น  ควรเก็บ
               รักษาในห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 22 – 24 °C และมีความชื้นสัมพัทธ์อยู่ในช่วง 50 - 65 % โดยทั้งอุณหภูมิและความชื้นต้องคงที่ตลอด 24

               ชั่วโมง หากไม่สามารถเก็บในห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้ ควรท าให้ห้องจัดเก็บมีการหมุนเวียนของอากาศ

                                                                                                                                                   ู้
                                                                                                          ์
                     การอนุรักษ์เชิงสงวนรักษา เป็นการด าเนินงานอนุรักษ์หลังจากที่เลือกวิธีการรักษา การใช้วัสด อุปกรณ และสารเคมี เป็นต้น โดยผ่านการพิจารณาจากผเชี่ยวชาญ
                                                                                                   ุ
                                                                                                                                                 ้
               ตามข้อเสนอแนะ หลักการและเหตุผล ซึ่งถูกต้องตามหลักจริยธรรมและแนวทางปฏิบัติงานของนักอนุรักษ์  จึงสามารถเริ่มดาเนินการปฏิบัติงานตามขั้นตอนได งานอนุรักษ์

               วัตถุโบราณเชิงสงวนรักษามีความคล้ายคลึงกับงานรักษาผู้ป่วยของแพทย์    ในกรณีของการอนุรักษ์หนังสือสมุดไทยและหนังสือเก่าแบบฝรั่งของวัดราชาธิวาสวิหารจะเป็น
               การอนุรักษ์เชิงสงวนรักษา คือเป็นการอนุรักษ์หลังจากวัตถุเกิดความเสียหายแล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้
               1.  ค้นคว้าประวัติความเป็นมาของชิ้นงาน เช่น ผสร้าง  เจ้าของ  หน้าที่ของชิ้นงาน และแหล่งที่มา เปนต้น (คล้ายคลึงกับการซักประวัติผู้ป่วยเบื้องต้น)
                                                          ู้
                                                                                                     ็
                                                                                 ุ
               2.  ประเมินสภาพและเก็บข้อมูลเบื้องต้นของชิ้นงาน เช่น ขนาด ชนิดของวัสด ลักษณะสสัน การจัดเก็บ รายละเอียดการเสื่อมสภาพ และเลขทะเบยน (ในกรณีที่มาจาก
                                                                                                                                          ี
                                                                                          ี
               พิพิธภัณฑ์) เป็นต้น (คล้ายคลึงกับการตรวจวินิจฉัยโรคเบื้องต้นด้วยเครื่องมือพื้นฐาน เช่น หูฟังของแพทย์ ปรอทวัดไข้ และเครื่องวัดความดัน เป็นต้น)
               3.  ศึกษารายละเอียดของเนื้อวัสดุโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์  เช่น  การวัดความเป็นกรด-เบสโดยใช้กระดาษ  pH  การศึกษาระดับการเสื่อมสภาพของเส้นใยด้วย
               เทคนิค IR spectroscopy และ X-ray diffraction  ศึกษาลักษณะของเส้นใยด้วยเทคนิค Scanning Electron Microscopy และศึกษาชนิดของธาตุองค์ประกอบด้วย
                                                                       ้
               เทคนิค Energy Dispersive X-ray หรือ X-ray Fluorescence (คลายคลึงกับการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยเครื่องมือชั้นสูง)
               4.  ด าเนินการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพของวัตถ  ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส าคัญทสุด  เริ่มตั้งแต่การท าความสะอาด  การฟื้นฟูสภาพเนื้อวัสดุ  การซ่อมแซมส่วนที่ช ารุด  และการเสริม
                                                                         ี่
                                                    ุ
               ความแข็งแรง ขั้นตอนนี้ต้องด าเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ (คล้ายคลึงกับการรักษาของแพทย์)
               5.  การเก็บรักษาวัตถุหลงการอนุรักษ์เพื่อชะลอการเสื่อมสภาพ  ควรเก็บวัตถไว้ในกล่องที่ท าจากกระดาษไร้กรด  สถานที่เก็บห่างไกลจากแสงแดด  การไหลเวียนของ
                                                                                  ุ
                                      ั
               อากาศดี  และความชื้นเหมาะสม  ต้องหมั่นตรวจสภาพของวัตถุและสถานที่เก็บรักษาว่าปลอดจากปลวกและแมลงที่จะมาท าลายวัตถุนั้น  (คล้ายคลึงกับการปฏิบัติตัวของ
               ผู้ป่วยหลังการรักษา)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11