Page 41 - คู่มือกิจกรรม งาน workshop วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 41

38



                                                                                ็
                                                                                     ้
                                                                            ่

                                                                     ั
                                                                                                   ู
                     3.  ขาวตะกั่ว (lead carbonate, PbCO ) ทาจากตะกั่วตดเป็นแผนเลกๆแลวเตมน้ าสมสายชลงไปใน
                                                                                             ้
                                                                                        ิ
                                                       3
                                                 ื
                                         ิ้
                                  ็
                          ี่
                                                                        ี
                                                                                      ี
                                                         ้
                                                          ุ่
               ภาชนะปิดทเจาะรูเลกๆไว้ ทงไว้หกเดอนจะไดฝนขาวฟูเป็นผงสขาวละเอียด สขาวตะกั่วนี้จะเกิดการ
                                                                                      ์
               เสื่อมสภาพเปลี่ยนเป็นสีคล้ า เนื่องจากขาวตะกั่วท าปฏกิริยากับแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด (H S)ในอากาศเกิดเป็น
                                                            ิ
                                                                                        2
               lead sulfide (PbS) ซึ่งมีสีด า
               สีเหลือง : มีแหล่งที่มาหลากหลายดังนี้
                                             ์
                                                           ิ
                                     ิ
                                        ี่
                                                                                                        ั
                                                                                              ์
                                                                                         ี่
                                                                 ์
                     1. ดนเหลองเป็นดนทมีองคประกอบของแร่ลโมไนท (limonite) ซึ่งเป็นแร่ผสมทมีองคประกอบหลก
                              ื
                         ิ
               เป็น iron oxide hydroxide (-FeOOH)  ต้องน าดินเหลืองมาบดจนได้เนื้อสีละเอียด ดินเหลืองนี้ชางโบราณ
                                                                                                  ่
               ปั้นเป็นแท่งดินสอเขียนบนกระดานชนวน
                                                    ั
                                                       ั
                                                            ์
                                                                           ่
                                                                                       ่
                     2. ได้จากยางรงค (Gamboge) โดยสบตนรงคเอายางมากรองใสกระบอกไม้ไผสด ย่างไฟอ่อนให้ร้อน
                                    ์
               ระอุ พอน้ ายางแข็งเป็นก้อนแล้ว ทิ้งไว้ให้เย็น จึงผ่าไม้ไผ่ออกได้แท่งสีรงค์รูปทรงกระบอก เวลาใชเอามาฝนกับ
                                                                                               ้
               น้ าจะได้สีเหลืองไม่ต้องผสมกาว
                     3. ได้จากก้อนแร่หรดาล (Orpiment, As S ) เวลาใช้ต้องน ามาบดละเอียดและผสมกาว
                                                       2 3
                                                              ี่
                          ้
                     4. ไดจาก lead-tin  yellow มีสองชนิด ชนิดท 1 เป็นสารประกอบ stannate  ของตะกั่ว (lead
               stannate, Pb SnO ) ชนิดที่ 2 เป็นสารประกอบซิลิเกตของตะกั่วและดีบุก (Pb(Sn,Si)O )
                                                                                        3
                                4
                           2
               เขียว : มีหลายชนิดดังนี้
                                                                                                ื
                     1. สีเขียวตังแชจากสนิมโลหะทองแดง โดยน าเส้นทองแดงทมาใส่ในภาชนะแก้วทมีกรดเกลอเพื่อให้กัด
                                                                      ี่
                                                                                        ี่
               ทองแดงจนเป็นผง ล้างน้ า กรองจนหมดความเป็นกรด
                                               ์
                     2. สีเขียวตังแชจากแร่มาลาไคต (Cu CO (OH) )
                                                            2
                                                       3
                                                   2
                     3. สีเขียวใบแคได้จากการน ายางรงค์ผสมกับเขม่าหรือหมึกจีน
               สีคราม:
                     1. ได้จากพืชคือต้นคราม (Indigo) และฮ่อม (Baphicacanthus cusia Brem)
                     2. ได้จากแร่ลาพิส ลาซูรี (lapis lazuli) และอะซูไรท์ (Cu (CO ) (OH) )
                                                                               2
                                                                         3 2
                                                                    3

               การสร้างจิตรกรรมฝาผนังของช่างไทยสมัยโบราณ
                     1. การท าปูนหมัก หมักปูนขาว (CaO) ที่จะใช้ฉาบผนังไว้ราว 2 เดือน หรือนานกว่านั้น ระหว่างการ
               หมัก  จะต้องหมั่นเปลี่ยนน้ า  จนปูนขาวเปลี่ยนเป็น  Ca(OH)   ซึ่งมีสมบัติเป็นด่าง  สามารถตรวจสอบด้วย
                                                                   2
               กระดาษขมิ้น (จะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีส้มแดง) หรือกระดาษวัด pH
                     2. น าปูนหมักมาผสมกับน้ าอ้อยเคี่ยว และกาวจากยางไม้ หรือจากหนังสัตว์ และผสมทรายบดละเอียด
               ส่วนผสมทั้งหมดนี้จะท าให้ปูนฉาบแข็งเหนียว เมื่อน ามาฉาบบนแผ่นอิฐจะไดผิวเรียบเป็นมันดังรูปต่อไปนี้
                                                                              ้
   36   37   38   39   40   41   42   43