Page 35 - คู่มือกิจกรรม งาน workshop วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 35
32
้
ภาพที่ 1 ความเสื่อมสภาพของลายรดน้้าตาหนักทอง วัดไทร กรุงเทพฯ
(ก) (ข)
ภาพที่ 2 ความเสื่อมสภาพของลายรดน้้า (ก) ต้าหนักทองวัดไทร กรุงเทพฯ (ข) ตู้พระธรรม วัดราชาธิวาสวิ
หาร กรุงเทพฯ
4.2 การเตรียมพื นรักแบบโบราณ
การเตรียมพื้นรักบนแผ่นไม้มีขั้นตอนดังนี้
1. ขัดถูพื้นไม้ที่เตรียมไว้ให้เรียบด้วยกระดาษทราย
2. ใช้แปรงทายางรัก โดยทาบางๆให้ทั่วบริเวณ
3. น้าไปบ่มในตู้ที่มีความชื้นสูงให้ยางรักแห้ง
4. ผสมยางรักและสมุก (ถ่านที่ได้จากการเผากะลาแล้วน้ามาต้าให้ละเอียด (ภาพที่ 3))
5. เกลี่ยรักสมุกลงบนไม้ที่ทางยางรักไว้แล้วด้วยเกรียง โดยทาให้เรียบและหนาพอสมควร ทิ้งไว้ให้แห้ง
ขัดผิวหน้าของรักสมุกให้พอเรียบ
6. ท้าซ้้าข้อ 5 อีก 1-2 ครั้ง (เพิ่มความหนา) ทิ้งไว้จนแห้ง ขัดพอเรียบ
7. น้ายางรักมาผสมกับดินสอพอง เรียก สมุกอ่อน มาเกลี่ยที่พื้นสมุกเดิม ทิ้งไว้จนแห้ง แล้วขัดเปิดหน้า
8. ท้าซ้้าข้อ 7 อีก 1-2 ครั้ง จนไม่มี “ตามด”
9. น้ายางรักน้้าเกลี้ยงมาทาที่หน้าพื้นสมุกอีก 1 ครั้ง รอให้แห้ง
10. ท้าซ้้าข้อ 9 อีก 1 ครั้ง รอจนแห้ง
หลังจากเสร็จขั้นตอนทั้ง 10 ข้อข้างต้น จะได้พื้นยางรักแบบโบราณ พร้อมที่จะเขียนน้้ายาหรดาล