Page 24 - คู่มือกิจกรรม งาน workshop วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 24
21
3. กิจกรรมเครื่องถม
ี่
เครื่องถม (Niello ware) เป็นวัตถศิลปกรรมทส าคัญของไทย ในสมัยโบราณเครื่องถมส่วนใหญ่จะเป็น
ุ
ภาชนะเครื่องใช้ที่ผลิตให้พระบรมวงศานุวงค์และขุนนางชั้นสูง รวมทั้งใช้เป็นเครื่องราชบรรณาการ เครื่องราช
กกุธภัณฑ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่บรรดาข้าราชบริพาร
ั
การท าเครื่องถม เป็นเทคนิคทท าให้โลหะเกิดลวดลายด้วยกรรมวิธีต่างๆ เช่น การแกะ ขูด ขุด สลก
ี่
เป็นต้น แล้วถมร่องบนโลหะด้วยสารสีดาที่เรียกว่า “ยาถม”ซึ่งประกอบไปด้วย ตะกั่ว ทองแดง เงิน และ
ก ามะถัน ยาถมที่ถมในร่องจะมีสีด า ลวดลายส่วนใหญ่จะเป็นสีเงิน หากต้องการให้ลวดลายเป็นสทองทั้งหมด
ี
ท าได้โดยการทาทองลงไปบนแผ่นโลหะที่ลงยาถมแล้วให้ทั่วทั้งแผ่นเรียกกระบวนการนี้ว่า “ถมทอง” แต่ถ้าทา
ทองลงบนแผ่นโลหะบางส่วนเรียกว่า “ถมตะทอง”
ส าหรับกิจกรรมเครื่องถม ผเข้าร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้เทคนิคการท าเครื่องถมเงิน กระบวนการ
ู้
เสื่อมสภาพที่เกิดขึ้นจากสนิมโลหะ การท าความสะอาดและการเก็บรักษา และรายละเอียดของกระบวนการ
อนุรักษ์เครื่องถมของวัดราชาธิวาสวิหาร
3.1 วิธีการท าเครื่องถมเงินเลียนแบบเครื่องถมวัดราชาธิวาสวิหาร
1. ออกแบบชิ้นงานเครื่องถม
2. น าเม็ดเงินบริสุทธิ์ 99.99% มาผสมกับทองแดงในอัตราส่วน 95:5 (w/w)
3. น าโลหะทั้งหมดมาหลอมรวมกัน แล้วแผ่และรีดตามขนาดที่ก าหนด
ภาพที่ 1 การหลอมรีดโลหะ
้
ั
ี่
ึ
4. น าแผ่นโลหะทมีขนาดตามที่ต้องการมาติดลงบนกระบะชัน โดยให้ความร้อนจนชนละลาย แลวจงน าแผน
่
โลหะมากดให้ติดบนชัน
ภาพที่ 2 แผ่นโลหะเงินที่กดติดบนชัน