Page 20 - คู่มือกิจกรรม งาน workshop วิทยาศาสตร์กับงานอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย
P. 20
17
- ลายใบไม การปักลายใบไม้มีอยู่ด้วยกันสองลักษณะ คือใบที่ปักด้วยเลื่อมไลขนาดเรียงเป็นฝัก อยู่
้
่
ส่วนยอดของต้น ปักตีเกลียวทับกลางใบ และใบแบบแฉก ปักใบด้วยดิ้นมันสอดหนุนเต็มรูปใบ วาง
เลื่อมปิดส่วนเส้นกลางใบและปักตีเกลียวด้วยดิ้นมันทับกลางเลื่อมอีกชั้นหนึ่ง
- ต้นและกิ่งก้าน ขั้นแรกท าการหนุนต้นด้วยกระดาษสาม้วนเป็นเส้น โดยตดกระดาษให้เป็นรูป
ั
สามเหลี่ยมแล้วม้วนเข้าด้วยแกนเข็มมาลัย จะได้แกนกระดาษส าหรับปักต้นที่มีความเรียวไล่ระดับ
น ามาปักกลึงลงเป็นส่วนของล าต้น ดัดโค้งไปตามจังหวะล าต้น ส่วนของกิ่ง ใช้ดิ้นข้อเบอร์ใหญ่เป็น
แกนหนุน ปักให้โค้งไปตามจังหวะลายกิ่งเชื่อมระหว่างล าต้นและใบ จากนั้นท างานปักถม หรือปัก
่
ค่อมด้วยดิ้นมันตัดเป็นท่อนให้ได้ขนาดพอดีกับแตละส่วน ปักเฉียงไล่ระดับกันลงมา
้
- กระถางต้นไม ในส่วนของกระถางต้นไม้ จะแบ่งส่วนปักเป็นสองส่วนคือตัวกระถาง (ลายเกลียวสาน)
และขอบกระถาง ส าหรับการปักลายตัวกระถางแบ่งการปักเป็นสี่ขั้นตอน
ขั้นแรก ปักวางเลื่อมปุ่มปูดเรียงเป็นแถวเรียงให้ตรงกัน
ขั้นที่สอง ตัดดิ้นมันเป็นเส้นปักคาดในแนวดิ่งระหว่างแถวเลื่อมปุ่มปูดแต่และแถว
ขั้นที่สาม ปักแถวเลื่อมเขนาดเล็กเรียงซ้อนกันระหว่างแถวเลื่อมปุ่มปูดในแนวนอน
ขั้นที่สี่ ปักตเกลียวดิ้นมันทับลงบนแถวเลื่อมแบบที่ปักเรียงไว้
ี
การปักลายขอบกระถาง ปักโดยวิธีการปักเกลียว โดยหนุนเส้นกลางด้วยดิ้นข้อเบอร์ใหญ่และปักถม
เป็นเกลียวค่อมเส้นดิ้นข้อที่หนุนนั้น